“พระพุทธเจ้า-ศาสดาแห่งพวกเ
ได้ตรัสรู้ภายใต้ต้นไม้ต้นน
“ชาวอินเดียเรียกต้นไม้อย่า
เหมือนกันหรือครับคุณพ่อ ?”
“เท่าที่พ่อทราบ
ชาวอินเดียเรียกไม้ชนิดนี้ว
ต่อมาเมื่อพระพุทธเจ้าได้ปร
ภายใต้ต้นไม้นี้จึงมีคำใช้เ
‘โพธิมณฑล, โพธิ์บัลลังก์, โพธิ์มูเล-โคนโพธิ์และโพธิญ
“คำว่า ‘โพธิ์’ จะหมายถึงชื่อของต้นไม้
หรือหมายถึงปัญญาตรัสรู้ของ
ก็เป็นเรื่องน่าคิดอยู่
ไทยเราจะเรียกต้นไม้ชนิดนี้
หรือเพิ่งเรียกเมื่อได้รับน
ยังเป็นปัญหาที่ไม่กระจ่าง
เดิมทีชาวอินเดียคงเรียกไม้
ต่อมาที่เรียก ‘โพธิ์พฤกษ์’ น่าจะหมายถึง
หรือต้องการหมายความว่า
‘ต้นไม้ที่พระพุทธเจ้าประทั
ทั้งนี้เพื่อเฉลิมพระเกียรต
และแล้วเราก็เรียกต้นไม้ชนิ
ถ้าเราเรียกกันมาแต่เดิม
คือก่อนยอมรับนับถือพระพุทธ
ก็น่าจะเรียกคำนี้ว่า ‘โพ’ มิใช่ ‘โพธิ์’
บัดนี้ต้นไม้ชนิดนี้ที่พุทธ
และในอารามสงฆ์ทั่วเมืองไทย
กลายเป็นต้นไม้ที่พุทธศาสนิ
และมีความยำเกรงอยู่ในใจมิใ
“ลูกรัก ! ธรรมดาคนดี ก่อความรู้สึกปราโมช
แก่คนผู้อยู่ใกล้ชิดไม่มีวั
นอกจากนี้ สิ่งที่เกี่ยวข้องด้วยคนดี
ก็พลอยเป็นสิ่งมีคุณค่าไปด้
ดูสิ่งที่เกี่ยวข้องด้วยพระ
แม้แต่พระบรมสารีริกธาตุ
คนทั้งหลายก็บรรจุสถูป เจดีย์ไว้เป็นที่บูชา
พระอังคารคือเถ้าถ่านที่เหล
คนทั้งหลายก็นำไปบูชา
ทุกสิ่งทุกอย่างกลายเป็นสิ่
ความดีจึงเป็นสิ่งน่ารักน่า
น่ากระทำเพราะมันเสกสรรคนทำ
คนศักดิ์สิทธิ์-คนที่โลกต้อ
=====================
#วรรณกรรมอันชนกชนนีนี้รักเ
#อาจารย์วศิน อินทสระ
ภาพ :Google